Trick & Trips

IMG_2927

รู้จักกับ กระจก

กระจกที่เรานำมาใช้ตามอาคารบ้านเรือน รถยนต์ หรือภาชนะต่าง ๆ โดยทั่วไป

ทุกคนรู้ว่านำมาใช้ประโยชน์อะไรได้บ้างแต่ส่วนใหญ่จะไม่รู้ว่ากระจกทำมาจาก

อะไรคุณมีสมบัติอย่างไร ข้อมูลต่อไปนี้เป็นข้อมูลเบื้องต้น เพื่อให้ผู้ที่ทำงานเกี่ยว กับกระจกมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ กระจก

และนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ตามประเภทของงานที่นำไปใช้

ประเภทของกระจก 1 SODA LIME GLASS ใช้กับอาคารบ้านเรือน รถยนต์ ขวด

  1. POTASSIUM GLASS ใช้กับแว่นตา งานอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
  2. BOROSILICATE GLASS ใช้เกี่ยวกับแว่นตา อุปกรณ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และอุปกรณ์ทนความร้อน
  3. QUARTZ GLASS (BYCOL) แก้วที่ทนความร้อนที่เป้นภาชนะต่าง
  4. LEAD GLASS  ใช้ในวงการแพทย์ วิธีการผลิต

การผลิตกระจกนี้มีประวัติอันยาวนานจนพัฒนาได้จนถึงปัจจุบันถือว่าเป็นกระจก

ที่มีคุณภาพดีที่สุด และไปใช้ได้หลากหลาย โดยจัดประเภท

กระจกกลุ่มใหญ่ ๆ ไว้ดังนี้

ส่วนผสมหลักของ SODALIM GLASS

เราใช้กระจกจากบริษัทกระจกไทยอาซาฮี และบริษัท สยามการ์เดียน

โดยมีกระจกให้เลือก หลายชนิดตามต้องการเช่น เช่น กระจกใส กระจกชาดำ กระจกเงา กระจกฝ้ามีความหนาตั้งแต่ 5 มม. 6 มม.8 มม. 10 มม. หรือ 12 มม. โดยลูกค้าสามารถเลือกได้ตามความชอบ

หรือ เลือกให้เหมาะกับลักษณะงาน กระจกชนิดพิเศษที่ใช้งานที่ระบุ สเป็ค หรือ กระจกที่ใช้กับอุปกรณ์พิเศษ 1 ทรายแก้ว

  1. โซดาแอซ
  2. โซเดียมซัลเฟต
  3. โคโลไมท์
  4. หินปูน
  5. หินพันม้า ออกไซต์ ชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ส่วนผสมให้เกิดเป็นสีชนิดต่าง ๆ

กรรมวิธีการผลิต

นำส่วนผสมต่าง ๆ เหล่านี้นำมาหลอมรวมกันตามอัตราส่วนผสมของผู้ผลิตแต่ละราย

โดยให้อุณหภูมิที่1500 – 1600 องศาเซลเซียส ซึ่งส่วนประกอบเหล่านี้ก็จะหลอมละลายเป็นน้ำแก้วส่วนจะเป็นสีใส หรือสีอื่น ๆ

ขึ้นอยู่กับการเติมออกไซต์ เพื่อให้เกิดเนื้อสีในกระจก และขจัดสิ่ง แปลกปลอมที่ปนเข้าไปในส่วนผสมอุณหภูมิ ประมาณ 1300 องศาเซลเซียส

แล้วนำมาขึ้นรูป แผ่นกระจกด้วยกรรมวิธีแบบต่าง ๆ ที่อุณหภูมิ ประมาณ 800 – 1000 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ ขณะนั้นน้ำแก้วก็จะเหลวคล้ายตัวตังเมนั่นเอง

ปัจจุบันมีการผลิตกระจกแผ่นด้วยระบบโฟลต (FLOAT) ซึ่งเป็นระบบที่ทันสมัย และแพร่หลายทั่วโลกกรรมวิธีการผลิตระบบโฟลต คือ การนำกระจกที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส มาขึ้นรูปโดยผ่านไปในอ่างดีบุก ซึ่งคุณสมบัติของดีบุกคือ มีความตึงผิว จะทำให้ผิวของกระจกมีความเรียบมากที่สุดซึ่งเป็นที่นิยมกัน ตามที่กล่าวมาแล้ว ซึ่งแตกต่างจากระบบเดิม ๆ คือ ทำให้เกิดคลื่น เกิดภาพลวงตา

กระจกที่ผลิตจากระบบโฟลตนี้จะนำไปใช้กับอาคาร บ้านเรือน รถยนต์ กระจกแผ่นเรียบ

กระจกแผ่นเรียบธรรมดา (anneal) หรือ กระจกโฟลต

กระจกแผ่นเรียบธรรมดา กระจกโฟลตที่ผลิตออกมาได้หลากหลายชนิด สี แต่ที่นิยมในบ้านเราคือกระจกสีใส (clear) กระจกสีฟ้า (blue) กระจกสีเขียว(green) กระจกสีชา (gray)

ความหนาของกระจกทั่วไปที่ผลิต 

สำหรับความหนาที่ผลิตในประเทศไทย มีตั้งแต่ 2.0 มม. – 19.0 มม.